วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2554

การ Ghost เบื้องต้น

  Ghost คือ อะไร สำหรับมือใหม่หลายคนอาจจะไม่รูจักหรือไม่เคยเห็น แต่ถ้าสำหรับช่างคอมพิวเตอร์แล้วโปรแกรมตัวนี้ถือว่าเป็นตัวช่วยที่ดีมากเลยทีเดียว ประโยชน์ของโปรแกรมตัวนี้ มีมากครับ สามารถยกตัวอย่างได้ดังนี้
  • ใช้ backup OS ได้
  • ใช้ copy OS ไปได้หลายๆเครื่อง(ไม่ต้องมานั่งลงWindowsหลายๆเครื่อง)
  • ใช้ copy เฉพาะ Partition ตามที่เราต้องการ
  • ใช้ backup OS ผ่านระบบ LAN (ไม่ใช่ตัวที่อยู่ใน Hiren's Boot CD)
    ประโยชน์ของโปรแกรมตัวนี้จะเห็นว่าดีมากเลยครับ แต่ก็มีข้อเสียเหมือนกันนะครับ โดยเฉพาะถ้าเจอช่างที่มักง่าย อะไรๆก็จะGhostอย่างเดียว เพราะบางทีถ้าGhostแล้วโปรแกรมบางตัวจะใช้ไม่ค่อยได้ ติดตั้งโปรแกรมลงไปแล้วไม่ทำงาน อันนี้เคยเจอครับ ต้องลง Windows สถานเดียว
    แต่วิธีที่ผมนำมาสอนนี้ถือว่าเป็นการ Ghost ที่ดีที่สุดแล้วนะครับ เวลาเราโดน virus เล่นงานหรือจะเสียโดยสาเหตุอะไรก็แล้วแต่ เราก็สามารถนำ Windows ตัวเก่ากลับมาใช้ได้โดยใช้โปรแกรม Ghost นี้
    
    เริ่มต้นใช้โปรแกรม Ghost
  1. การทำ Ghost ที่ดีที่สุด คือ การลง Windows เสร็จใหม่ๆ แล้วติดตั้งโปรแกรมต่างๆให้เรียบร้อย แล้วจึงทำการ Ghost นะครับ

  2. หาพื้นที่ที่จะเก็บตัว Ghost ในที่นี้ผมจะเอาไปเก็บที่ Drive H: ซึ่งผมตั้งชื่อDriveไว้ว่า Backup (ต้องขออภัยครับ รูปเล็กไปหน่อย)

  3. ตั้ง Boot CD ใน Bios

  4. ใส่แผ่น Hiren's Boot CD แล้วเลือกข้อ 2  Disk Clone Tools

  5. แล้วเลือกข้อ 2 Norton Ghost 11.0.2

  6. แล้วเลือกข้อ 8 Ghost (Normal)

  7. จะเจอกับหน้าตาของโปรแกรม Ghost แล้วกด OK

  8. เราจะทำการ Ghost โดยเริ่มที่ Local และ Partition และ To Image ตามรูปครับ

  9. จะเจอหน้าตาแบบนี้ กด OK ครับ

  10. แล้วเลือก Primary ซึ่งเป็น Drive C: นั่นเองครับ แล้วกด OK

  11. หา Drive ที่จะเก็บ ซึ่งผมจะเก็บไว้ที่ Backup ครับ

  12. แล้วพิมพ์ชื่อ File name ผมพิมพ์ Backup ตามรูปครับ แล้วกด Save

  13. จะได้ดังรูปครับ จะเลือก Fast หรือ High ก็ได้นะครับ(แต่ส่วนใหญ่ผมจะเลือก Fast ครับ)

  14. ตอบ Yes แล้วก็รอจนกว่าจะเสร็จครับ

  15. ถ้าขึ้นแบบนี้ก็ถือว่าเราทำสำเร็จแล้วครับ แล้วเราก็ออกจากโปรแกรม Ghost ได้เลยครับ

    การนำ Ghost กลับมาเพื่อกู้ Windows
  1.  ผมจะสมมุติว่า เครื่องเราโดน virus ดังรูป นะครับ สิ่งที่เราต้องทำก็คือเตรียมแผ่น Hiren's Boot CD แล้วก็ restart ได้เลยครับ
  2.  แล้วก็ทำการเข้าโปรแกรมแกรม Ghost เหมือนเดิมนะครับ
  3. วิธีนำกลับมาให้เราเลือก Local และ Partition และ From Image (ตรงนี้สำคัญนะครับอย่าเลือกผิด)
  4. แล้วเลือก Drive ที่เราเก็บไว้ ในที่นี้ผมเก็บไว้ที่ Backup
  5. แล้วเลือกตัว Ghost ที่เราเก็บไว้
  6. แล้วเลือก Ok
  7. click OK
  8. click OK
  9. click Yes
  10. แล้วก็รอครับ
  11. แค่นี้ก็เสร็จแล้วครับ แล้วเลือก Reset Computer
  12. ปล่อยให้เครื่องเข้าระบบ windows เราจะได้ windows ตัวเดิมกลับมาแล้วครับ
    การนำ windows กลับมานี้ จะไม่รวมไปถึงเอกสารนะครับ เพราะฉะนั้นถ้าจะใช้วิธีนี้ ควรจะเก็บเอกสารไว้ Drive อื่นเหมือนที่ผมใช้อยู่นะครับยกตัวอย่างเครื่องผม จะแบ่ง Drive ไว้ดังนี้ ใครจะเอาไปใช้ก็ไม่ว่ากันครับ
  • Drive C: เป็นที่เก็บ Windows
  • Drive D: เป็นที่เก็บ ข้อมูลที่สำคัญ
  • Drive E: เป็นที่เก็บหนังและเพลง
  • Drive F: เป็นที่เก็บตัว Ghost
    ก็หวังว่าน่าจะมีประโยชน์กับคนใช้คอมพิวเตอร์มือใหม่ทั้งหลายนะครับ ขอบคุณครับ
 
 
 
VDO การใช้ Ghost 14
 
 
 
 
 
 

การ Set BIOS เบื้องต้น

การ Set BIOS เบื้องต้น

 

การตั้งค่าและความหมายของคำต่าง ๆ ใน BIOS ที่ควรทราบ
โดยปกติแล้ว เราไม่จำเป็นต้องทำการเปลี่ยนแปลงค่าต่าง ๆ ใน BIOS บ่อยนัก ยกเว้นเมื่อเราต้องการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าต่าง ๆ หรือเมื่อมีการเปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่ ๆ เช่น CPU, RAM หรือ Hard Disk เป็นต้น

การเข้าสู่ BIOS Setup Mode

สำหรับวิธีการที่จะเข้าไปตั้งค่าต่าง ๆ ใน BIOS ได้นั้น จะขึ้นอยู่กับระบบของแต่ละเครื่องด้วย โดยปกติเมื่อเราทำการเปิดสวิทช์ไฟของเครื่องคอมพิวเตอร์ BIOS ก็จะเริ่มทำงานโดยทำการทดสอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ก่อนที่จะเรียกใช้งานระบบ DOS จากแผ่น Floppy Disk หรือ Hard Disk ในช่วงนี้จะเป็นช่วงที่เราสามารถเข้าไปทำการแก้ไขเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าต่าง ๆ ใน BIOS ได้โดยกด Key ต่าง ๆ เช่น DEL, ESC CTRL-ESC, CTRL-ALT-ESC ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าแต่ละเครื่องจะตั้งไว้อย่างไร ส่วนใหญ่ จะมีข้อความบอกเช่น "Press DEL Key to Enter BIOS Setup" เป็นต้น


ปุ่ม Key ต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับการ Setup BIOS ส่วนใหญ่จะเป็นแบบเดียวกัน โดยจะมีรูปแบบทั่วไปดังนี้


Up, Down, Left, Right ใช้สำหรับเลื่อนเมนูตามต้องการ
Page Up, Page Down ใช้สำหรับเพิ่ม ลบ หรือเปลี่ยนแปลงค่าตามต้องการ
ESC Key ใช้สำหรับย้อนกลับไปเมนูแรกก่อนหน้านั้น
Enter Key ใช้สำหรับเลือกที่เมนูตามต้องการ
F1, F2 ถึง F10 ใช้สำหรับการทำรายการตามที่ระบุในเมนู BIOS Setup

ตัวอย่างการตั้งค่าต่าง ๆ ใน BIOS Setup

สำหรับตัวอย่างต่อไปนี้ผมนำมาให้ดูแบบรวมทั่ว ๆ ไปของ BIOS เท่าที่หาข้อมูลได้นะครับ ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะคล้าย ๆ กัน เริ่มจากหลังจากที่กด DEL หรือ Key อื่น ๆ ขณะเปิดเครื่องเพื่อเข้าสู่ BIOS Setup Mode โดยปกติแล้ว ถ้าหากเป็นการตั้งค่าครั้งแรก หลังจากที่ทำการ Reset CMOS แล้ว ก็เลือกที่เมนู Load BIOS Default Setup หรือ Load BIOS Optimal-performance เพื่อเลือกการตั้งค่าแบบกลาง ๆ ของอุปกรณ์ทั่วไปก่อน จากนั้นจึงมาทำการเลือกแก้ไขเปลี่ยนแปลงแต่ละค่า ตามเมนูต่อไปนี้


Standard CMOS Setup


Date และ Time ใส่ วันที่ และ เวลา ปัจจุบัน
Hard Disk กำหนดขนาดของ HDD (Hard Disk) ว่ามีขนาดเท่าไร โดยเลือกตั้งค่าเองแบบ User, แบบอัตโนมัติ Auto หรือไม่ได้ติดตั้งก็เลือกที่ None
Primary / Master อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE แรก แบบ Master
Primary / Slave อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE แรก แบบ Slave
Secondary / Master อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE ที่สอง แบบ Master
Secondary / Slave อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE ที่สอง แบบ Slave
- Cyls
จำนวน cylinders ใส่ตามคู่มือ HDD


- Heads
จำนวน heads ใส่ตามคู่มือ HDD
- Precomp
write precompensation cylinder ไม่ต้องกำหนดหรือใส่ตามคู่มือ HDD
- Landz landing zone ไม่ต้องกำหนด หรือใส่ตามคู่มือ HDD
- Sectors จำนวน sectors ใส่ตามคู่มือ HDD
Mode ถ้าหากทราบค่าที่แน่นอนให้ใส่เป็น User แต่ถ้าไม่แน่ใจ ให้ตั้ง Auto ไว้
- Auto BIOS
จะทำการตรวจสอบและตั้ง Mode ของ HDD อัตโนมัติ
- Normal สำหรับ HDD ที่มี clys,heads,sectors ไม่เกิน 1024,16,63
- Large สำหรับ HDD ที่มี cyls มากกว่า 1024 แต่ไม่ support LBA Mode
- LBA Logical Block Addressing สำหรับ HDD ใหม่ ๆ จะมีการส่งข้อมูลที่เร็วกว่า
Drive A: B: ชนิดของ Diskette Drives ที่ติดตั้งใช้งาน 360K, 720K, 1.2M หรือ 1.44M
Video ชนิดของจอแสดงภาพ (ปกติจะเป็น EGA/VGA)
Halt On กำหนดการ Stop หากพบ Error ขณะที่ POST (Power-On Seft Test)
- All errors การ POST จะหยุดและแสดง prompts ให้เลือกการทำงานต่อไปทุก Error
- All, But Key การ POST จะไม่หยุดกรณีของการเกิด Keyboard Error
- All, But Disk การ POST จะไม่หยุดกรณีของการเกิด Disk Drive Error
- All, But Disk/Key การ POST จะไม่หยุดกรณีของการเกิด Keyboard Error หรือ Disk Error
Memory จะแสดงขนาดของ Memory ที่ใส่อยู่ ซึ่งไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
- Base Memory โดยปกติจะเป็น 640K สำหรับ DOS
- Extended คือ Memory ในส่วนที่สูงกว่า 1M ขึ้นไป
- Other Memory หมายถึงส่วนของระหว่าง 640K ถึง 1M


BIOS Features Setup


Virus Warning การเตือนเมื่อมีการเขียนข้อมูลทับ Boot Record ของ HDD [Enabled]
CPU Int / Ext cache การใช้งาน CPU Internal / External Cache [Enabled]
CPU L2 Cache ECC Check การใช้ External Cache แบบ ECC SRAMs
Quick Power On Seft Test การทำ POST แบบเร็ว [Enabled]
Boot Sequence เลือกลำดับของการบูทเช่นจาก C:, A: หรือ IDE-0, IDE-1 [C: A:]
Swap Floppy Disk กำหนดการสลับตำแหน่ง Drive A: เป็น Drive B: [Disabled]
Boot Up Floppy Seek การตรวจสอบชนิดของ Disk Drive ว่าเป็นแบบใด [Disabled]
Boot Up NumLock Status กำหนดการทำงานของ Key NumLock หลังจากเปิดเครื่อง [Disabled]
Boot Up System Speed กำหนดความเร็ว CPU หลังจากเปิดเครื่อง [High]
Gate A20 Option การเข้าถึง Address memory ส่วนที่สูงกว่า 1M [Fast]
Typematic Rate Setting กำหนดความเร็วของการกด Key [Enabled]
Typematic Rate (Chars/Sec) กำหนดความเร็วของการกด Key [6]
Typematic Delay (Msec) กำหนดค่า delay ของการกด Key [250]
Security Option กำหนดการตั้งรหัสผ่านของการ Setup BIOS หรือ System [Setup]
PS/2 Mouse Control กำหนดการใช้งาน PS/2 Mouse [Disabled]
PCI/VGA Palette Snoop แก้ปัญหาการเพี้ยนของสีเมื่อใช้การ์ดวีดีโออื่น ๆ ร่วมด้วย [Disabled]
Assign IRQ for VGA กำหนดการใช้ IRQ ให้กับการ์ดจอ [Enabled]
OS Select for DRAM > 64M การกำหนดหน่วยความจำสำหรับ OS2 [Non-OS]
HDD S.M.A.R.T capability Self-Monitering Analysis and Reporting Technology ควรเลือก [Enabled]
Video BIOS Shadow กำหนดให้ทำ Shadow กับ ROM จากการ์ดแสดงผล C0000-C4000 ควรเลือก [Enabled
Adapter ROM กำหนดให้ทำ Shadow กับ ROM จากการ์ดที่เสียบเพิ่มเติม
- C8000 ใช้กับการ์ดแสดงผลชนิด MDA (จอเขียว)
- CC000 ใช้กับการ์ด controller บางประเภท [Disabled]
- D0000 ใช้กับการ์ด LAN [ถ้าไม่ใช้ตั้ง Disabled]
- D4000 ใช้กับ controller สำหรับ Disk Drive ชนิดพิเศษ [Disabled]
- D8000 ตั้ง [Disable]
- DC000 ตั้ง [Disable]
- E0000 ตั้ง [Disable]
- E4000 ตั้ง [Disable]
- E8000 ตั้ง [Disable]
- EC000 ใช้กับการ์ด controller ชนิด SCSI [หากไม่ได้ใช้ตั้ง Disable]
System ROM การทำ Shadow กับ ROM ของ BIOS ที่ F000 [Enabled]


Chipset Features Setup


Auto Configuration คือให้ BIOS จัดการค่าต่างๆโดยอัตโนมัติซึ่งจะเป็นค่ากลาง ๆ
Hidden Refresh การเติมประจุไฟของ DRAM [Enabled]
Slow Refresh ให้ DRAM ลดความถี่ในการเติมประจุไฟลง 2 - 4 เท่า [เลือก Enabled ถ้าไม่มีปัญหาในการใช้งาน]
Concurrent Refresh การอ่าน-เขียนข้อมูล ได้พร้อมๆกับการเติมประจุไฟใน DRAM [เลือก Enabled ถ้าไม่มีปัญหาในการใช้งาน]
Burst Refresh การเติมประจุไฟลง DRAM ได้หลายๆ รอบในการทำงานครั้งเดียว [เลือก Enabled ถ้าไม่มีปัญหาในการใช้งาน]
DRAM Brust at 4 Refresh จำนวนการ Burst Refresh เป็น 4 รอบในการทำงาน 1ครั้ง [Enabled]
Staggered Refresh การเติมประจุล่วงหน้าใน DRAM ใน Bank ถัดไปด้วย [Enabled]
Refresh RAS Active Time ให้ทดลองกำหนดค่าน้อยที่สุดเท่าที่เครื่องจะสามารถทำงานได้
AT Cycle Wait State เวลาที่รอให้การ์ด ISA พร้อม ให้ตั้งค่าที่น้อยสุดเท่าที่เครื่องทำงานได้
16-Bit Memory, I/O Wait State เวลาที่ซีพียูต้องรอระหว่างรอบการทำงาน ตั้งน้อยที่สุดที่ทำงานได้
8-Bit Memory, I/O Wait State เวลาที่ซีพียูต้องรอระหว่างรอบการทำงาน ให้ตั้งน้อยสุดที่ทำงานได้
DMA Clock Source กำหนดความเร็วของอุปกรณ์ DMA โดยมีค่าปกติคือ 5 MHz
Memory Remapping หากเปิดการทำงานนี้ไว้จะทำ Shadows กับ BIOS ใดๆ ไม่ได้ [Disable]
Cache Read Hit Burst หรือ SRAM Read Wait State ระยะพักรอเมื่ออ่านข้อมูลลงใน L1 Cache ให้ตั้งน้อยที่สุดเท่าที่ทำงานได้
Cache Write Hit Burst หรือ SRAM Write Wait State ระยะพักรอเมื่ออ่านข้อมูลลงใน L1 Cache ให้ตั้งน้อยที่สุดเท่าที่ทำงานได้
Fast Cache Read / Write ให้แคชทำงานโหมดความเร็วสูง จะมีผลเมื่อแคชมีขนาด 64 KB หรือ 256 KB
Tag Ram Includes Ditry ให้แคชทำงานในโหมดเขียนทับโดยไม่ต้องย้าย/ลบข้อมูลเดิมออกก่อน หากมี Ram น้อยกว่า 256 MB ควรใช้ Dirty Bit
Non-Cacheable Block-1 Size กำหนดขนาดหน่วยความจำที่ห้ามทำแคช [OK หรือ Disabled]
RAS to CAS Delay Time ค่าหน่วงเวลาก่อนที่จะสลับการทำงาน RAS-CAS ตั้งค่าน้อยที่สุด เท่าที่ทำงานได้
CAS Before RAS การสลับลำดับการทำงานระหว่าง RAS และ CAS
CAS Width in Read Cycle กำหนดค่าหน่วงเวลาก่อนที่ซีพียูจะเริ่มอ่านข้อมูลใน DRAM ตั้งน้อยที่สุดที่ทำงานได้
Interleave Mode ให้ซีพียูอ่าน - เขียนข้อมูลจาก DRAM ในโหมด Interleave
Fast Page Mode DRAM ให้หน่วยความจำทำงานแบบ FPM โดยไม่ต้องอาศัย RAS และ CAS ซึ่งจะเร็วกว่า
SDRAM CAS Latency Time หรือ SDRAM Cycle Length ระยะรอบการทำงานของ CAS latency ใน SDRAM ตั้งค่าน้อยที่สุด หรือใช้ค่า 2 กับ RAM ชนิด PC100 และใช้ค่า 3 กับ RAM ชนิด ความเร็วแบบ PC66/83
Read Around Write กำหนดให้ซีพียูอ่าน - เขียนข้อมูลจากหน่วยความจำได้ในคราวเดียวกัน [Enabled]
DRAM Data Integrity Mode เลือก Non-ECC หรือ ECC ตามขนิดของ SDRAM
System BIOS Cacheable การทำแคชของ System BIOS ROM #F0000-FFFFF [Enabled]
Video BIOS Cacheable การทำแคชของ Video BIOS ROM [Enabled]
Video RAM Cacheable การทำแคชของ Video RAM #A0000-AFFFF [Enabled ถ้าไม่มีปัญหา]
Memory Hole at 15M-16M การจองพื้นที่สำหรับ ISA Adapter ROM [Enabled]
Passive Release กำหนด CPU to PCI bus accesses ช่วง passive release [Enabled]
Delayed Transaction เลือก Enable สำหรับ PCI version 2.1
AGP Aperture Size (MB) กำหนดขนาดของ AGP Aperture กำหนดเป็นครึ่งหนึ่งของ RAM ทั้งหมด

BIOS Features Setup
Virus Warning การเตือนเมื่อมีการเขียนข้อมูลทับ Boot Record ของ HDD [Enabled]
CPU Int / Ext cache การใช้งาน CPU Internal / External Cache [Enabled]
CPU L2 Cache ECC Check การใช้ External Cache แบบ ECC SRAMs
Quick Power On Seft Test การทำ POST แบบเร็ว [Enabled]
Boot Sequence เลือกลำดับของการบูทเช่นจาก C:, A: หรือ IDE-0, IDE-1 [C: A:]
Swap Floppy Disk กำหนดการสลับตำแหน่ง Drive A: เป็น Drive B: [Disabled]
Boot Up Floppy Seek การตรวจสอบชนิดของ Disk Drive ว่าเป็นแบบใด [Disabled]
Boot Up NumLock Status กำหนดการทำงานของ Key NumLock หลังจากเปิดเครื่อง [Disabled]
Boot Up System Speed กำหนดความเร็ว CPU หลังจากเปิดเครื่อง [High]
Gate A20 Option การเข้าถึง Address memory ส่วนที่สูงกว่า 1M [Fast]
Typematic Rate Setting กำหนดความเร็วของการกด Key [Enabled]
Typematic Rate (Chars/Sec) กำหนดความเร็วของการกด Key [6]
Typematic Delay (Msec) กำหนดค่า delay ของการกด Key [250]
Security Option กำหนดการตั้งรหัสผ่านของการ Setup BIOS หรือ System [Setup]
PS/2 Mouse Control กำหนดการใช้งาน PS/2 Mouse [Disabled]
PCI/VGA Palette Snoop แก้ปัญหาการเพี้ยนของสีเมื่อใช้การ์ดวีดีโออื่น ๆ ร่วมด้วย [Disabled]
Assign IRQ for VGA กำหนดการใช้ IRQ ให้กับการ์ดจอ [Enabled]
OS Select for DRAM > 64M การกำหนดหน่วยความจำสำหรับ OS2 [Non-OS]
HDD S.M.A.R.T capability Self-Monitering Analysis and Reporting Technology ควรเลือก [Enabled]
Video BIOS Shadow กำหนดให้ทำ Shadow กับ ROM จากการ์ดแสดงผล C0000-C4000 ควรเลือก [Enabled
Adapter ROM กำหนดให้ทำ Shadow กับ ROM จากการ์ดที่เสียบเพิ่มเติม
- C8000 ใช้กับการ์ดแสดงผลชนิด MDA (จอเขียว)
- CC000 ใช้กับการ์ด controller บางประเภท [Disabled]
- D0000 ใช้กับการ์ด LAN [ถ้าไม่ใช้ตั้ง Disabled]
- D4000 ใช้กับ controller สำหรับ Disk Drive ชนิดพิเศษ [Disabled]
- D8000 ตั้ง [Disable]
- DC000 ตั้ง [Disable]
- E0000 ตั้ง [Disable]
- E4000 ตั้ง [Disable]
- E8000 ตั้ง [Disable]
- EC000 ใช้กับการ์ด controller ชนิด SCSI [หากไม่ได้ใช้ตั้ง Disable]
System ROM การทำ Shadow กับ ROM ของ BIOS ที่ F000 [Enabled]

Chipset Features Setup
Auto Configuration คือให้ BIOS จัดการค่าต่างๆโดยอัตโนมัติซึ่งจะเป็นค่ากลาง ๆ
Hidden Refresh การเติมประจุไฟของ DRAM [Enabled]
Slow Refresh ให้ DRAM ลดความถี่ในการเติมประจุไฟลง 2 - 4 เท่า [เลือก Enabled ถ้าไม่มีปัญหาในการใช้งาน]
Concurrent Refresh การอ่าน-เขียนข้อมูล ได้พร้อมๆกับการเติมประจุไฟใน DRAM [เลือก Enabled ถ้าไม่มีปัญหาในการใช้งาน]
Burst Refresh การเติมประจุไฟลง DRAM ได้หลายๆ รอบในการทำงานครั้งเดียว [เลือก Enabled ถ้าไม่มีปัญหาในการใช้งาน]
DRAM Brust at 4 Refresh จำนวนการ Burst Refresh เป็น 4 รอบในการทำงาน 1ครั้ง [Enabled]
Staggered Refresh การเติมประจุล่วงหน้าใน DRAM ใน Bank ถัดไปด้วย [Enabled]
Refresh RAS Active Time ให้ทดลองกำหนดค่าน้อยที่สุดเท่าที่เครื่องจะสามารถทำงานได้
AT Cycle Wait State เวลาที่รอให้การ์ด ISA พร้อม ให้ตั้งค่าที่น้อยสุดเท่าที่เครื่องทำงานได้
16-Bit Memory, I/O Wait State เวลาที่ซีพียูต้องรอระหว่างรอบการทำงาน ตั้งน้อยที่สุดที่ทำงานได้
8-Bit Memory, I/O Wait State เวลาที่ซีพียูต้องรอระหว่างรอบการทำงาน ให้ตั้งน้อยสุดที่ทำงานได้
DMA Clock Source กำหนดความเร็วของอุปกรณ์ DMA โดยมีค่าปกติคือ 5 MHz
Memory Remapping หากเปิดการทำงานนี้ไว้จะทำ Shadows กับ BIOS ใดๆ ไม่ได้ [Disable]
Cache Read Hit Burst หรือ SRAM Read Wait State ระยะพักรอเมื่ออ่านข้อมูลลงใน L1 Cache ให้ตั้งน้อยที่สุดเท่าที่ทำงานได้
Cache Write Hit Burst หรือ SRAM Write Wait State ระยะพักรอเมื่ออ่านข้อมูลลงใน L1 Cache ให้ตั้งน้อยที่สุดเท่าที่ทำงานได้
Fast Cache Read / Write ให้แคชทำงานโหมดความเร็วสูง จะมีผลเมื่อแคชมีขนาด 64 KB หรือ 256 KB
Tag Ram Includes Ditry ให้แคชทำงานในโหมดเขียนทับโดยไม่ต้องย้าย/ลบข้อมูลเดิมออกก่อน หากมี Ram น้อยกว่า 256 MB ควรใช้ Dirty Bit
Non-Cacheable Block-1 Size กำหนดขนาดหน่วยความจำที่ห้ามทำแคช [OK หรือ Disabled]
RAS to CAS Delay Time ค่าหน่วงเวลาก่อนที่จะสลับการทำงาน RAS-CAS ตั้งค่าน้อยที่สุด เท่าที่ทำงานได้
CAS Before RAS การสลับลำดับการทำงานระหว่าง RAS และ CAS
CAS Width in Read Cycle กำหนดค่าหน่วงเวลาก่อนที่ซีพียูจะเริ่มอ่านข้อมูลใน DRAM ตั้งน้อยที่สุดที่ทำงานได้
Interleave Mode ให้ซีพียูอ่าน - เขียนข้อมูลจาก DRAM ในโหมด Interleave
Fast Page Mode DRAM ให้หน่วยความจำทำงานแบบ FPM โดยไม่ต้องอาศัย RAS และ CAS ซึ่งจะเร็วกว่า
SDRAM CAS Latency Time หรือ SDRAM Cycle Length ระยะรอบการทำงานของ CAS latency ใน SDRAM ตั้งค่าน้อยที่สุด หรือใช้ค่า 2 กับ RAM ชนิด PC100 และใช้ค่า 3 กับ RAM ชนิด ความเร็วแบบ PC66/83
Read Around Write กำหนดให้ซีพียูอ่าน - เขียนข้อมูลจากหน่วยความจำได้ในคราวเดียวกัน [Enabled]
DRAM Data Integrity Mode เลือก Non-ECC หรือ ECC ตามขนิดของ SDRAM
System BIOS Cacheable การทำแคชของ System BIOS ROM #F0000-FFFFF [Enabled]
Video BIOS Cacheable การทำแคชของ Video BIOS ROM [Enabled]
Video RAM Cacheable การทำแคชของ Video RAM #A0000-AFFFF [Enabled ถ้าไม่มีปัญหา]
Memory Hole at 15M-16M การจองพื้นที่สำหรับ ISA Adapter ROM [Enabled]
Passive Release กำหนด CPU to PCI bus accesses ช่วง passive release [Enabled]
Delayed Transaction เลือก Enable สำหรับ PCI version 2.1
AGP Aperture Size (MB) กำหนดขนาดของ AGP Aperture กำหนดเป็นครึ่งหนึ่งของ RAM ทั้งหมด

Power Management

Max Saving กำหนดการประหยัดพลังงานแบบ สูงสุด
User Define กำหนดการประหยัดพลังงานแบบ ตั้งค่าเอง
Min Saving กำหนดการประหยัดพลังงานแบบ ต่ำสุด
PM Control by APM กำหนดให้ควบคุมการประหยัดพลังงานผ่านทางซอฟท์แวร์ APM
Video Off Method กำหนดวิธีการปิดจอภาพเมื่อเข้าสู่โหมดประหยัดพลังงาน
- V/H SYNC + Blank จะปิดการทำงาน V/H SYNC และดับจอภาพด้วย Blank Screen
- DPMS สำหรับการ์ดแสดงผลและจอภาพที่สนับสนุนโหมด DPMS
- Blank Screen จะทำการแสดงหน้าจอว่าง ๆ เมื่อประหยัดพลังงาน สำหรับจอรุ่นเก่า ๆ
Video Off After ให้ปิดจอภาพเมื่อเข้าสู่โหมดประหยัดพลังงานแบบ Stanby หรือ Suspend
Standby Mode กำหนดระยะเวลาเมื่อพบว่าไม่มีการใช้งาน จะหยุดทำงานของอุปกรณ์บางส่วน
Supend Mode จะตัดการทำงานบางส่วนคล้าย Standby Mode แต่หยุดอุปกรณ์ที่มากกว่า
HDD Power Down กำหนดระยะเวลาก่อนที่ BIOS จะหยุดการทำงานของ HDD
Resume by Ring เมื่อ Enabled สามารถสั่งให้ทำงานจาก Soft Off Mode ได้
Resume by Alarm เมื่อ Enabled สามารถตั้งเวลาทำงานจาก Suspend Mode ได้
Wake Up On LAN เมื่อ Enabled สามารถสั่งให้ทำงานจาก Soft Off Mode ได้

Integrated Peripherals

IDE HDD BLOCKS MODE ให้ HDD อ่าน-เขียนข้อมูลได้ครั้งละหลาย Sector พร้อมกัน [Enabled]
IDE PIO Mode... กำหนดการทำงานแบบ Programe Input/Output [ตั้งสูงสุดหรือ Auto]
IDE UDMA... กำหนดการทำงานแบบ DMA หรือ UDMA [Enabled หรือ Auto]
On-Chip PCI IDE กำหนดการใช้ช่องเสียบ HDD IDE ที่อยู่บนเมนบอร์ด [Enabled]
USB Keyboard Support กำหนดให้ใช้ Keyboard แบบ USB [Enabled]
Onboard FDC Controller กำหนดให้ใช้ช่องเสียบ Disk Drive ที่อยู่บนเมนบอร์ด [Enabled]
Onboard Serial Port 1 กำหนดค่าแอดเดรสและ IRQ ให้ COM1 ค่าปกติคือ 3F8/IRQ4
Onboard Serial Port 2 กำหนดค่าแอดเดรสและ IRQ ให้ COM2 ค่าปกติคือ 2F8/IRQ3
Parallel Port Mode กำหนดโหมดการทำงานของพอร์ตขนานได้ใน 3 แบบ [EPP&ECP]
- SPP (Standard Parallel Port) คือโหมดมาตรฐานเหมาะแก่เครื่องพิมพ์รุ่นเก่าๆ
- EPP (Enhanced Parallel Port) คือโหมด 2 ทิศทางเหมาะแก่เครื่องพิมพ์รุ่นใหม่
- ECP (Extended Cap. Port) คือโหมดความเร็วสูง เมื่อต่อพ่วงกับ Scanner, Laplink ฯลฯ
ECP MODE USE DMA คือกำหนด DMA สำหรับ Port ขนานแบบ ECP ซึ่งค่าปกติคือ 3



BIOS 3
การตั้งค่าอื่น ๆ

Load BIOS Default Setup
เมื่อกดเลือกที่นี่ BIOS จะทำการตั้งค่าต่าง ๆ ให้เป็นแบบกลาง ๆ สำหรับอุปกรณ์ทั่ว ๆ ไป หรือเป็นการตั้งค่าแบบ Factory Setup ก็ได้

Load BIOS Optimize Setup
เมื่อกดเลือกที่นี่ BIOS จะทำการตั้งค่าต่าง ๆ ของอุปกรณ์ ให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด

Password Setting
ใช้สำหรับการตั้ง Password เมื่อต้องการจะเข้าไปเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าต่าง ๆ ใน BIOS หรือเมื่อต้องการจะเปิดเครื่อง โดยปกติเมื่อใส่ Password ระบบจะให้ใส่ Confirm ซ้ำ 2 รอบเพื่อป้องกันการใส่ผิดพลาด (ไม่ใส่อะไรเลย คือการยกเลิก password)

HDD Low Level Format
เป็นเมนูสำหรับทำ Low Level Format ของ Hard Disk ซึ่งใช้สำหรับทำการ Format Hard Disk แบบระดับต่ำสุด ซึ่งถ้าหากไม่มีปัญหาอะไรกับ Hard Disk ก็ไม่จำเป็นต้องทำ

Exit with Save Setting หรือ Exit without Save Setting
เมื่อทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการตั้งค่าต่าง ๆ ของ BIOS แล้วต้องทำการ Save เก็บไว้ด้วยนะครับ ส่วนใหญ่เมื่อทำการ Save แล้วจะบูทเครื่องใหม่ ค่าต่าง ๆ ที่ตั้งไว้จึงจะใช้งานได้

CPU Setup
นอกจากนี้ ในเมนบอร์ดรุ่นใหม่ ๆ ที่เป็นแบบ Jumper Free (ไม่ใช้ Jumper แต่จะใช้เมนูใน BIOS สำหรับตั้งค่าต่าง ๆ ) จะสามารถตั้งค่าของความเร็ว CPU, ค่า multiple หรือ FSB, ค่าไฟ Vcore และอื่น ๆ อีกแล้วแต่รุ่นของเมนบอร์ดนั้น ๆ

วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554

log fie คือ

  log file คือ ข้อมูลจราจรคอมพิวเตอร์ เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์ แสดงถึงแหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์
 
สำหรับคนทั่วไปที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ อาจไม่เคยเห็นหน้าตาของ log file ลักษณะของมันจะเป็นตัวหนังสือและเครื่องหมายกระยึกกระยือ แต่สามารถนำมาถอดรหัสได้ว่ามีสิ่งใดเกิดขึ้นบ้างในช่วงที่ผ่านมา หากต้องเปรียบเทียบ อาจคล้ายซากฟอสซิลที่บ่งบอกถึงเรื่องราวในอดีตได้
 
สำหรับคอมพิวเตอร์ สิ่งที่ log file จะบอกได้คือ มีคนเล่นอินเทอร์เน็ตจากที่ใด เวลาใด ที่อยู่และเบอร์โทรศัพท์อะไร ไปที่เว็บนั้นๆ แล้วทำอะไรบ้าง และสามารถบอกเส้นทางการเล่นอินเทอร์เน็ตว่าเข้าจากหน้าเว็บใดไปสู่เว็บใด มีการส่งข้อความทั้งผ่านทางข้อความทันใจ หรือทางอีเมล ไปหาใครบ้าง

อุปกรณ์ทางด้าน Network





ปกติระบบ LAN จะประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งการ์ด LAN อุปกรณ์กระจายสัญญาณที่เรียกว่า Hub และสายที่ต่อระหว่างเครื่องกับ Hub ซึ่งแต่ส่วนมีรายละเอียดดังนี้


การ์ดแลน LAN (Network Interface Card:NIC)

เครื่องพีซีจะเชื่อต่อกันเป็นระบบ LAN ขึ้นมานั้น แต่ละเครื่องต้องติดตั้งการ์ด LAN เครื่องรุ่นใหม่ๆอาจจะมีการ์ด LAN ฝังตัวอยู่ในบอร์ดให้แล้ว (Lan Onboard) หรือในโน๊ตบุ๊คใหม่ๆก็มักจะมีพอร์ต LAN มาให้แล้ว โดยส่วนใหญ่จะมีความเร็ว 1000หรือ100 เมกกะบิต (ถ้าเป็นรุ่นเก่าจะมีความเร็วเพียง 10 เมกกะบิตต่อวินาทีเท่านั้น) เรียกว่าเป็น Fast Ethernet และบางแบบก็อาจใช้ได้ทั้ง 2 ความเร็วโดยสามารถปรับแบบอัตโนมัติแล้วแต่จะไปเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ Hub หรือ Switch แบบใดการ์ด LAN รุ่นใหม่จะมีคุณสมบัติ Plug&Play หรือ PnP มักเสียบเข้ากับสล๊อตแบบ PCI (การ์ดรุ่นเก่าจะใช้กับสล๊อตแบบ ISA ซึ่งไม่ค่อยพบแล้ว จึงไม่ขอกล่าวถึง) โดยมีช่องด้านหลังเครื่องให้เสียบสายได้

อุปกรณ์กระจายสัญญาณ Hub และ Switch

โครงสร้างของระบบ LAN ทั่วไปจะประกอบด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Hub เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ โดยใช้สายชนิดที่เรียกว่า UTP เป็นตัวเชื่อมต่อ ซึ่งในการทำงานจริงข้อมูลที่ส่งออกมาจากการ์ด LAN ของแต่ละเครื่องจะถูกกระจายต่อไปยังทุกเครื่องที่ต่อกับ HUB นั้น เหมือนกับการกระจายเสียงหรือ broadcast ไปให้ทุกคนรับรู้แต่เฉพาะเครื่องที่ถูกเจาะจงให้เป็นผู้รับเท่านั้นจึงจะรับข้อมูลไปอ่าน แต่สายทุกเส้นจะต้องมีข้อมูลนี้วิ่งไปด้วย คือส่งได้ทีละเครื่องเท่านั้น
นอกจาก Hub แล้วยังมีอุปกรณ์อื่นๆเช่น Switch ซึ่งใช้เชื่อมต่อใน Lan ได้เช่นเดียวกัน แต่มีประสิทธิภาพดีกว่า เพราะ Switch จะดูว่าเครื่องใดเป็นผู้รับแล้วส่งต่อเฉพาะสายเส้นที่ไปยังเครื่องนั้น สายของเครื่องอื่นๆจึงว่างพอที่จะรับส่งข้อมูลอื่น ได้พร้อมกันหลายๆชุด

สาย UTP (Unshield Twisted Pair)

สายที่ใช้กับ LAN เรียกว่าสาย UTP (Unshield Twisted Pair) ซึ่งใช้หัวต่อแบบ RJ-45 ซึ่งมีทั้งหมด 8 ขา สายแบบนี้ที่เข้าหัวไว้แล้วจะหาซื้อได้ตามร้านขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วไป หรือจะซื้อแบบเป็นม้วนมาตัดเข้าหัวเองก็ได้ แต่ต้องมีเครื่องมือหรือคีมเข้าหัว RJ-45 โดยเฉพาะ มีข้อจำกัดคือ จะต้องยาวไม่เกิน 100 เมตร จากเครื่องไปยัง Switch และแบ่งได้เป็น 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ
• สายตรง (Straight-through Cable) คือสายปกติที่ใช้เชื่อมระหว่างการ์ด LAN และ Hub / Switch
• สายไขว้ (Crossover Cable) ใช้ต่อการ์ด LAN บนคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องหรือพอร์ตของ Hub หรือ Switch 2 ตัวโดยตรง เพื่อเพิ่มขยายพอร์ต ซึ่งวิธีการเข้าหัวจะต่างจากปกติ



 

การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Ubuntu Sever

การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Ubuntu 8.10 Sever
ผังการวางระบบก่อนการติดตั้ง Ubuntu 8.10 Server

Access Point
 
 








      UPS

เพื่อลดปัญหาจากกระแสไฟที่ไม่สม่ำเสมอ อุปกรณ์ทุกตัว
ควรใช้ไฟจากเครื่องสำรองไฟ UPS
 
 




1. นำแผ่น CD EasyZone Hotspot Billing v2.7 เข้าช่อง CD ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และตั้งระบบ Boot จาก CD ระบบจะแสดงหน้าให้เลือกภาษาในการติดตั้งระบบ



2. ระบบแสดง เมนูการติดตั้ง ให้เลือก Install Ubuntu Server แล้วกด Enter



3.      เลือกภาษาในการติดตั้ง ในที่นี้เลือก English




4. เลือกประเทศของผู้ติดตั้ง ในที่นี้ให้เลือก Other เพื่อค้นหาในประเทศไทย



5. เลือก Thailand



6. ระบบให้เลือกการตรวจสอบแป้น Keyboard ในที่นี้ให้เลือก No




7. ระบบให้เลือกประเภทของ Keyboard ให้เลือก USA




8. เนื่องจาก Keyboard USA มีหลายรูปแบบ ให้ท่านเลือก USA แบบตัวอย่าง


  
9. ระบบเริ่มทำการลงโปรแกรมเบื้องต้น


  
  
10. ระบบทำการตรวจสอบ การ์ดแลน แบบ 2 ใบ ให้เลือก ใบที่ 1 คือ eth0 เป็น การ์ดแลนตัวหลักในการเชื่อต่อกับ Router หรือ อินเตอร์เน็ต



11. ระบบให้ทำการกรอก Hostname ให้กรอก เป็น easyzone

  
12. ระบบทำการตั้งเวลาของเครื่อง


13. ระบบจะทำการแบ่ง Partition และ Format Harddisk ในที่นี้ให้เลือก ตามภาพด้านล่าง


14. ระบบทำการแสดงข้อมูล Harddisk  ให้ทำการกด Enter



15. ระบบแสดงข้อมูลก่อนทำการ แบ่ง Partition และ Format harddisk ในที่นี้ให้เลือก Yes และกด Enter


16. หลังจาก Format เรียบร้อยแล้ว ระบบจะทำการติดตั้ง Software



17. ระบบให้ทำการตั้ง Username และ Password เพื่อใช้ในการเข้าสู่ระบบ ในที่นี้ตั้ง Full Name เป็น  easyzone

  
18. ระบบตั้ง Username ในที่นี้ ตั้งเป็น easyzone



19. ตั้ง Password ในที่นี้ ตั้ง Password ส่วนตัวของท่าน



20. กรอก Password ใหม่อีกครั้ง



21. ระบบให้กรอก HTTP proxy ในที่นี้ไม่ต้องกรอกอะไร ให้เลือก ดังภาพแล้วกด Enter


22. รอ เพื่อให้ระบบแสกนหา แหล่งข้อมูล




23. ระบบเลือกการติดตั้ง Software สำคัญ เลือกตามภาพ โดยเลื่อน cursor และ กด Spacebar (แป้นเคาะเว้นวรรค) เพื่อเลือกรายการ เลือกดังภาพและกด Enter


24. เครื่องทำการติดตั้งระบบ Software ที่เลือก



25. ระบบตั้ง Password ฐานข้อมูล Mysql ให้กรอก Password ส่วนตัวที่ท่านต้องการ

  
26. กรอก Password ฐานข้อมูล Mysql อีกครั้ง



27. ระบบทำการติดตั้งโปรแกรม



28. ทำการติดตั้ง Ubuntu 8.10 Server เรียบร้อยแล้ว ให้นำแผ่น CD ออกจากเครื่อง และ กด Enter เพื่อ Reboot

ผังการวางระบบก่อนการติดตั้ง Ubuntu 8.10 Server

Access Point
 









      UPS
เพื่อลดปัญหาจากกระแสไฟที่ไม่สม่ำเสมอ อุปกรณ์ทุกตัว
ควรใช้ไฟจากเครื่องสำรองไฟ UPS
 
 



1. นำแผ่น CD EasyZone Hotspot Billing v2.7 เข้าช่อง CD ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และตั้งระบบ Boot จาก CD ระบบจะแสดงหน้าให้เลือกภาษาในการติดตั้งระบบ


2. ระบบแสดง เมนูการติดตั้ง ให้เลือก Install Ubuntu Server แล้วกด Enter


3.      เลือกภาษาในการติดตั้ง ในที่นี้เลือก English



  
4. เลือกประเทศของผู้ติดตั้ง ในที่นี้ให้เลือก Other เพื่อค้นหาในประเทศไทย

 

5. เลือก Thailand

  

6. ระบบให้เลือกการตรวจสอบแป้น Keyboard ในที่นี้ให้เลือก No




7. ระบบให้เลือกประเภทของ Keyboard ให้เลือก USA




8. เนื่องจาก Keyboard USA มีหลายรูปแบบ ให้ท่านเลือก USA แบบตัวอย่าง




9. ระบบเริ่มทำการลงโปรแกรมเบื้องต้น



10. ระบบทำการตรวจสอบ การ์ดแลน แบบ 2 ใบ ให้เลือก ใบที่ 1 คือ eth0 เป็น การ์ดแลนตัวหลักในการเชื่อต่อกับ Router หรือ อินเตอร์เน็ต


11. ระบบให้ทำการกรอก Hostname ให้กรอก เป็น easyzone

 

12. ระบบทำการตั้งเวลาของเครื่อง


13. ระบบจะทำการแบ่ง Partition และ Format Harddisk ในที่นี้ให้เลือก ตามภาพด้านล่าง



14. ระบบทำการแสดงข้อมูล Harddisk  ให้ทำการกด Enter


  
15. ระบบแสดงข้อมูลก่อนทำการ แบ่ง Partition และ Format harddisk ในที่นี้ให้เลือก Yes และกด Enter


16. หลังจาก Format เรียบร้อยแล้ว ระบบจะทำการติดตั้ง Software




17. ระบบให้ทำการตั้ง Username และ Password เพื่อใช้ในการเข้าสู่ระบบ ในที่นี้ตั้ง Full Name เป็น  easyzone

18. ระบบตั้ง Username ในที่นี้ ตั้งเป็น easyzone



19. ตั้ง Password ในที่นี้ ตั้ง Password ส่วนตัวของท่าน

 
20. กรอก Password ใหม่อีกครั้ง


21. ระบบให้กรอก HTTP proxy ในที่นี้ไม่ต้องกรอกอะไร ให้เลือก ดังภาพแล้วกด Enter

  
22. รอ เพื่อให้ระบบแสกนหา แหล่งข้อมูล



23. ระบบเลือกการติดตั้ง Software สำคัญ เลือกตามภาพ โดยเลื่อน cursor และ กด Spacebar (แป้นเคาะเว้นวรรค) เพื่อเลือกรายการ เลือกดังภาพและกด Enter




24. เครื่องทำการติดตั้งระบบ Software ที่เลือก



25. ระบบตั้ง Password ฐานข้อมูล Mysql ให้กรอก Password ส่วนตัวที่ท่านต้องการ



26. กรอก Password ฐานข้อมูล Mysql อีกครั้ง


  
27. ระบบทำการติดตั้งโปรแกรม



28. ทำการติดตั้ง Ubuntu 8.10 Server เรียบร้อยแล้ว ให้นำแผ่น CD ออกจากเครื่อง และ กด Enter เพื่อ Reboot